ฝ่ายโยธา
Public Works Section
การควบคุมงานก่อสร้าง
การขออนุญาตปลูกสร้างอาคารดันแปลงรื้อถอนอาคาร หรือเคลื่อนย้ายอาคารให้ยื่นคำขออนุญาต แบบ ข.1 หรือ ข.2
พร้อมหลักฐานดังนี้
โปรดอย่าทำการก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร รื้อถอนอาคาร ก่อนได้รับอนุญาต หรือก่อสร้าง ดัดแปลง ผิดไปจากแบบที่ได้รับอนุญาต มิฉะนั้นจะได้รับโทษ ดังนี้
งานรักษาที่สาธารณะ
การขออนุญาตปลูกสร้างอาคารดันแปลงรื้อถอนอาคาร หรือเคลื่อนย้ายอาคารให้ยื่นคำขออนุญาต แบบ ข.1 หรือ ข.2
พร้อมหลักฐานดังนี้
1.แผนผังบริเวณ รายการประกอบแบบ และแบบแปลนแสดงรายละเอียดอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง รวม 5 ชุด
2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านผู้ยื่นขออนุญาตพร้อมเซ็นชื่อรับรองสำเนา 1 ชุด
3.สำเนาโฉนดที่ดินที่ขออนุญาตทุกแผ่น ขนาดเท่าของจริง (ห้ามย่อหรือขยายส่วน) พร้อมให้เจ้าของที่ดินทุกคนเซ็นชื่อรับรองสำเนาทุกหน้า จำนวน 1 ชุด
2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านผู้ยื่นขออนุญาตพร้อมเซ็นชื่อรับรองสำเนา 1 ชุด
3.สำเนาโฉนดที่ดินที่ขออนุญาตทุกแผ่น ขนาดเท่าของจริง (ห้ามย่อหรือขยายส่วน) พร้อมให้เจ้าของที่ดินทุกคนเซ็นชื่อรับรองสำเนาทุกหน้า จำนวน 1 ชุด
4.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของที่ดินทุกคน พร้อมเซ็นชื่อรับรองสำเนา 1 ชุด
5.หนังสือมอบอำนาจ (กรณีผู้ขออนุญาตมอบหมายตัวแทน) ติดอากร 30 บาท และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับมอบอำนาจ
5.หนังสือมอบอำนาจ (กรณีผู้ขออนุญาตมอบหมายตัวแทน) ติดอากร 30 บาท และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับมอบอำนาจ
1.กรณีผู้ขออนุญาตและเจ้าของที่ดินเป็นรูปบริษัท หรือนิติบุคคลจะต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามเซ็นชื่อ พร้อมประทับตราบริษัทในเอกสาร
2.สำเนาหนังสือรับรองบริษัทหรือนิติบุคคล แสดงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามและวัตถุประสงค์ ทุกแผ่นมีอายุไม่เกิน 6 เดือน พร้อมเซ็นชื่อรับรองสำเนาจำนวน 1 ชุด
2.สำเนาหนังสือรับรองบริษัทหรือนิติบุคคล แสดงกรรมการผู้มีอำนาจลงนามและวัตถุประสงค์ ทุกแผ่นมีอายุไม่เกิน 6 เดือน พร้อมเซ็นชื่อรับรองสำเนาจำนวน 1 ชุด
2.1สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของกรรมการ ผู้มีอำนาจลงนาม พร้อมเซ็นชื่อรับรองสำเนาจำนวน 1 ชุด
3.หนังสือแสดงความยินยอมของผู้ควบคุมงาน ตามมาตรา 29 (แบบ น.4)
4.รายการคำนวณโครงสร้างของวิศวกร (กรณีเป็นอาคารก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรหรือวัสดุทนไฟเป็นส่วนใหญ่) พร้อมให้วิศวกรผู้คำนวณโครงสร้างเซ็นชื่อรับรองสำเนาทุกแผ่น จำนวน 1 ชุด
5.หนังสือรับรอง พร้อมสำเนาหรือภาพถ่ายใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หรือวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม (เฉพาะกรณีที่เป็นอาคารที่มีลักษณะขนาดอยู่ในประเภทวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และสถาปัตยกรรมควบคุมแล้วแต่กรณี)
6.กรณีอาคารที่อยู่ในข่ายต้องมีระบบกำจัดน้ำเสีย เช่น อาคารชุด หอพัก ต้องแสดงรายการจำนวน 1 ชุด พร้อมแบบแปลนการกำจัดน้ำเสีย จำนวน 5 ชุด
4.รายการคำนวณโครงสร้างของวิศวกร (กรณีเป็นอาคารก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรหรือวัสดุทนไฟเป็นส่วนใหญ่) พร้อมให้วิศวกรผู้คำนวณโครงสร้างเซ็นชื่อรับรองสำเนาทุกแผ่น จำนวน 1 ชุด
5.หนังสือรับรอง พร้อมสำเนาหรือภาพถ่ายใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หรือวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม (เฉพาะกรณีที่เป็นอาคารที่มีลักษณะขนาดอยู่ในประเภทวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และสถาปัตยกรรมควบคุมแล้วแต่กรณี)
6.กรณีอาคารที่อยู่ในข่ายต้องมีระบบกำจัดน้ำเสีย เช่น อาคารชุด หอพัก ต้องแสดงรายการจำนวน 1 ชุด พร้อมแบบแปลนการกำจัดน้ำเสีย จำนวน 5 ชุด
โปรดอย่าทำการก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร รื้อถอนอาคาร ก่อนได้รับอนุญาต หรือก่อสร้าง ดัดแปลง ผิดไปจากแบบที่ได้รับอนุญาต มิฉะนั้นจะได้รับโทษ ดังนี้
1.การก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคาร โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือทำผิดจากแบบที่ได้รับอนุญาตต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2.การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานท้องถิ่น นอกจากจะต้องระวังโทษตามข้อ 1 แล้ว ต้องระวังโทษปรับอีกวันละ 10,000 บาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน
3.การกระทำดังกล่าว ถ้าเป็นการกระทำของผู้ดำเนินการต้องระวังโทษเป็น 2 เท่าของโทษที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น
4.ถ้าเป็นการกระทำเกี่ยวกับอาคารเพื่อพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา หรือการสาธารณสุข หรือเป็นการค้าเพื่อให้เช่า ให้เช่าซื้อ ขาย หรือจำหน่ายโดยมีค่าตอบแทนซึ่งอาคารใด ต้องระวางโทษเป็น 2 เท่าของโทษที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้นๆ
2.การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานท้องถิ่น นอกจากจะต้องระวังโทษตามข้อ 1 แล้ว ต้องระวังโทษปรับอีกวันละ 10,000 บาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน
3.การกระทำดังกล่าว ถ้าเป็นการกระทำของผู้ดำเนินการต้องระวังโทษเป็น 2 เท่าของโทษที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น
4.ถ้าเป็นการกระทำเกี่ยวกับอาคารเพื่อพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา หรือการสาธารณสุข หรือเป็นการค้าเพื่อให้เช่า ให้เช่าซื้อ ขาย หรือจำหน่ายโดยมีค่าตอบแทนซึ่งอาคารใด ต้องระวางโทษเป็น 2 เท่าของโทษที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้นๆ
งานรักษาที่สาธารณะ
1.ตรวจสอบระวังชี้แนวเขตที่สาธารณะ ถนน ซอย คู คลอง ลำราง และที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อมิให้มีการรุกล้ำ
2.ตรวจสอบ และกำหนดแนวเขตที่สาธารณะให้แก่ผู้ขออนุญาตก่อสร้างอาคารที่มีส่วนติดต่อกับที่สาธารณะ หรือมีแนวถนนโครงการของหน่วยงานอื่นๆ ร่วมระวังแนวเขตที่สาธารณะหรือที่ดินของกรุงเทพมหานคร กับสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานครในกรณีที่มีการรังวัดที่ดิน และที่ดินนั้นมีส่วนติดต่อกับที่สาธารณะ
3.ตรวจสอบ ควบคุม ดูแลที่สาธารณะให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบของบ้านเมือง พ.ศ.2535 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
4.ดำเนินการกับผู้ละเมิดหรือทำความเสียหายแก่ที่สาธารณะ เช่น การลักลอบชุดถนน ทางเท้า และทำการก่อสร้างอาคารรุกล้ำที่สาธารณะ
5.จัดทำหลักฐานการอุทิศที่ดินให้เป็นสาธารณะประโยชน์
6.จัดทำทะเบียนที่สาธารณะ เก็บ ระวางแผนที่ รายละเอียดเกี่ยวกับที่สาธารณะประโยชน์
7.ตรวจสอบพิจารณาเกี่ยวกับการขออนุญาตตัดคันหิน ทางเท้า และทำทางเชื่อมในที่สาธารณะ
8.การขออนุญาตเชื่อมท่อระบายน้ำ กรณีต้องมีการเชื่อมระบายน้ำของอาคารกับท่อระบายน้ำสาธารณะ
9.การขออนุญาตวางท่อระบายน้ำในที่สาธารณะ
10.การขออนุญาตทำการต่างๆในที่สาธารณะ เช่น การกั้นรั้วชั่วคราว กองสิ่งของวัสดุก่อสร้างต่างๆ การตั้งโต๊ะ ตั้งเต็นท์ชั่วคราว
2.ตรวจสอบ และกำหนดแนวเขตที่สาธารณะให้แก่ผู้ขออนุญาตก่อสร้างอาคารที่มีส่วนติดต่อกับที่สาธารณะ หรือมีแนวถนนโครงการของหน่วยงานอื่นๆ ร่วมระวังแนวเขตที่สาธารณะหรือที่ดินของกรุงเทพมหานคร กับสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานครในกรณีที่มีการรังวัดที่ดิน และที่ดินนั้นมีส่วนติดต่อกับที่สาธารณะ
3.ตรวจสอบ ควบคุม ดูแลที่สาธารณะให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบของบ้านเมือง พ.ศ.2535 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
4.ดำเนินการกับผู้ละเมิดหรือทำความเสียหายแก่ที่สาธารณะ เช่น การลักลอบชุดถนน ทางเท้า และทำการก่อสร้างอาคารรุกล้ำที่สาธารณะ
5.จัดทำหลักฐานการอุทิศที่ดินให้เป็นสาธารณะประโยชน์
6.จัดทำทะเบียนที่สาธารณะ เก็บ ระวางแผนที่ รายละเอียดเกี่ยวกับที่สาธารณะประโยชน์
7.ตรวจสอบพิจารณาเกี่ยวกับการขออนุญาตตัดคันหิน ทางเท้า และทำทางเชื่อมในที่สาธารณะ
8.การขออนุญาตเชื่อมท่อระบายน้ำ กรณีต้องมีการเชื่อมระบายน้ำของอาคารกับท่อระบายน้ำสาธารณะ
9.การขออนุญาตวางท่อระบายน้ำในที่สาธารณะ
10.การขออนุญาตทำการต่างๆในที่สาธารณะ เช่น การกั้นรั้วชั่วคราว กองสิ่งของวัสดุก่อสร้างต่างๆ การตั้งโต๊ะ ตั้งเต็นท์ชั่วคราว
หลักฐานที่ต้องนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต อย่างละ 3 ชุด
1.สำเนาโฉนดที่ดินแปลงที่ขออนุญาต
2.สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
3.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
4.แผนผังบริเวณแสดงตำแหน่งที่ขออนุญาต
5.ใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร (ถ้ามี)
2.สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
3.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
4.แผนผังบริเวณแสดงตำแหน่งที่ขออนุญาต
5.ใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร (ถ้ามี)
การตรวจสอบพิจารณาอนุญาตขุดดิน และถมดินที่มีเนื้อที่ตั้งแต่ 1,600 ตารางเมตร (1 ไร่) ขึ้นไป
หลักฐานที่ต้องนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต อย่างละ 3 ชุด
หลักฐานที่ต้องนำมาประกอบการพิจารณาอนุญาต อย่างละ 3 ชุด
1.สำเนาโฉนดที่ดินแปลงที่ขออนุญาต (ถ่ายเท่าต้นฉบับ)
2.สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
3.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
4.ในกรณีผู้ขออนุญาตและเจ้าของที่ดินเป็นนิติบุคคล จะต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามเซ็นชื่อพร้อมประทับตราในเอกสาร
5.สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลที่ออกให้ไม่เกิน 6 เดือน
6.ผังบริเวณที่ขออนุญาตขุดดิน ถมดิน
2.สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
3.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของที่ดิน และผู้ขออนุญาต
4.ในกรณีผู้ขออนุญาตและเจ้าของที่ดินเป็นนิติบุคคล จะต้องให้กรรมการผู้มีอำนาจลงนามเซ็นชื่อพร้อมประทับตราในเอกสาร
5.สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลที่ออกให้ไม่เกิน 6 เดือน
6.ผังบริเวณที่ขออนุญาตขุดดิน ถมดิน
งานโครงการก่อสร้างและบูรณะ
1.สำรวจ ออกแบบ ประมาณราคา และวางแผนในการปรับปรุงซ่อมแซม ถนน ตรอก ซอย และโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
2.การบำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ท่าระบายน้ำ และสิ่งสาธารณูปโภค
3.การตรวจสอบแก้ไขปัญหาการร้องเรียน ถนน ทางเท้าที่ชำรุดเสียหาย
4.ดำเนินการจ้างเหมา ควบคุมการดำเนินการปรับปรุงต่างๆ
5.การซ่อมแซม และบำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ที่เป็นทางสาธารณะ
2.การบำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ท่าระบายน้ำ และสิ่งสาธารณูปโภค
3.การตรวจสอบแก้ไขปัญหาการร้องเรียน ถนน ทางเท้าที่ชำรุดเสียหาย
4.ดำเนินการจ้างเหมา ควบคุมการดำเนินการปรับปรุงต่างๆ
5.การซ่อมแซม และบำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย ที่เป็นทางสาธารณะ
งานระบายน้ำ
1.การบำรุงรักษาคู คลอง และท่อระบายน้ำสาธารณะ
2.การล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ แก้ไขและซ่อมแซมฝาท่อระบายน้ำสาธารณะ
3.การเก็บวัชพืชในคู คลอง
4.การป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
2.การล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ แก้ไขและซ่อมแซมฝาท่อระบายน้ำสาธารณะ
3.การเก็บวัชพืชในคู คลอง
4.การป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
การขออนุญาตตัดคันหินทางเท้า ลดระดับคันหินทางเท้า และทำทางเชื่อมในที่สาธารณะ การขออนุญาตเชื่อมท่อระบายน้ำ การขออนุญาตใช้ที่สาธารณะเป็นการชั่วคราว
หลักฐาน
หลักฐาน
1.คำร้องขออนุญาต
2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมลงนามรับรองสำเนา (ของผู้ขออนุญาต)
3.แผนผังแสดงตำแหน่งที่จะขอก่อสร้าง หรือขออนุญาต
4.สำเราโฉนดที่ดินทุกหน้า พร้อมรับรองสำเนา
5.สำเนาใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร พร้อมรับรองสำเนา (ถ้ามี)
6.กรณีเป็นนิติบุคคลสำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้มีอำนาจ ลงนามพร้อมรับรองสำเนาหนังสือมอบอำนาจ และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับมอบอำนาจ
2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมลงนามรับรองสำเนา (ของผู้ขออนุญาต)
3.แผนผังแสดงตำแหน่งที่จะขอก่อสร้าง หรือขออนุญาต
4.สำเราโฉนดที่ดินทุกหน้า พร้อมรับรองสำเนา
5.สำเนาใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร พร้อมรับรองสำเนา (ถ้ามี)
6.กรณีเป็นนิติบุคคลสำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้มีอำนาจ ลงนามพร้อมรับรองสำเนาหนังสือมอบอำนาจ และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับมอบอำนาจ
การขออนุญาตให้ขุดลอกท่อระบายน้ำ และคู คลอง
ท่อระบายน้ำในที่สาธารณะต่างๆ โดยเฉพาะตามถนน ตรอก ซอย สาธารณะ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร และคูสาธารณะซึ่งใช้เป็นทางระบายน้ำหรือเป็นทางคมนาคม หากอุดตันมีขยะหมักหมมเป็นปัญหาเดือดร้อนรำคาญ และแหล่งแพร่เชื้อโรค เป็นหน้าที่ของสำนักงานเขตท้องที่ในการดูแลรักษาแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นเมื่อประชาชนพบเห็นประสงค์จะให้ทางราชการดำเนินการให้ โดยยื่นคำร้อง โทรศัพท์แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
ติดต่อฝ่ายโยธา อาคาร3ชั้น ชั้น3 เบอร์โทร. 0-2235-6445, 0-2236-1398
ตั้งแต่เวลา 8.00-16.00 น.
ท่อระบายน้ำในที่สาธารณะต่างๆ โดยเฉพาะตามถนน ตรอก ซอย สาธารณะ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร และคูสาธารณะซึ่งใช้เป็นทางระบายน้ำหรือเป็นทางคมนาคม หากอุดตันมีขยะหมักหมมเป็นปัญหาเดือดร้อนรำคาญ และแหล่งแพร่เชื้อโรค เป็นหน้าที่ของสำนักงานเขตท้องที่ในการดูแลรักษาแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นเมื่อประชาชนพบเห็นประสงค์จะให้ทางราชการดำเนินการให้ โดยยื่นคำร้อง โทรศัพท์แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
ติดต่อฝ่ายโยธา อาคาร3ชั้น ชั้น3 เบอร์โทร. 0-2235-6445, 0-2236-1398
ตั้งแต่เวลา 8.00-16.00 น.
- เอกสารดาวน์โหลด
- Facebook ฝ่ายโยธา
- คู่มือสำหรับประชาชน (ขั้นตอน ระยะเวลา เอกสาร)
ปรับปรุงข้อมูลเมื่อ 13 มิถุนายน 2560