ฝ่ายรายได้
Revenue Section
การเสียภาษีบำรุงท้องที่
ภาษีบำรุงท้องที่ คือ ภาษีที่จัดเก็บจากที่ดินที่ใช้ประโยชน์เพื่อปลูกบ้านอยู่อาศัย ทำการเกษตร และที่ดินว่างเปล่า
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่
การเสียภาษีป้าย
ให้เจ้าของป้ายซึ่งจะต้องเสียภาษีป้าย ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) ณ ฝ่ายรายได้ สำนักงานเขต ซึ่งป้ายนั้นติดอยู่ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ป้ายที่ติดตั้งใหม่หรือมีการเปลี่ยนแปลงหลังจากเดือนมีนาคมให้ยื่นแบบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ติดตั้งหรือแสดงป้าย หรือนับตั้งแต่วันเปลี่ยนแลงแก้ไขแล้วแต่กรณี ให้เจ้าของป้ายมีหน้าที่เสียภาษีโดยเสียเป็นรายปี ยกเว้นป้ายที่เริ่มติดตั้งหรือแสดงในปีแรกให้เสียภาษีป้ายตั้งแต่วันที่เริ่มติดตั้งหรือแสดงจนถึงวันสิ้นปี และคิดภาษีป้ายเป็นรายงวด งวดละ 3 เดือนของปี โดยเริ่มเสียภาษีป้ายตั้งแต่งวดที่ติดตั้งป้ายจนถึงงวดสุดท้ายของปี
เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการยื่นแบบ
ติดต่อฝ่ายรายได้ อาคาร5ชั้น ชั้น3 เบอร์โทร. 0-2236-1515, 0-2236-4191, 0-2236-3161
ตั้งแต่เวลา 8.00-16.00 น.
ภาษีบำรุงท้องที่ คือ ภาษีที่จัดเก็บจากที่ดินที่ใช้ประโยชน์เพื่อปลูกบ้านอยู่อาศัย ทำการเกษตร และที่ดินว่างเปล่า
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี คือ เจ้าของที่ดิน ซึ่งบุคคลหรือคณะบุคคล ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล
ขั้นตอนการยื่นเสียภาษี
การยื่นแบบพิมพ์ ให้ผู้เป็นเจ้าของที่ดินในวันที่ 1 มกราคมของปีใด มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ในปีนั้น และยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5) ต่อเจ้าพนักงานประเมิน ณ สำนักงานเขตที่ที่ดินตั้งอยู่
กำหนดระยะเวลาให้ยื่นแบบแสดงรายการ
1.ครั้งแรกยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ.ท.5) ภายในเดือนมกราคมของปีและใช้ได้เป็นเวลาสี่ปี
2.ถ้าที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนเจ้าของอันเป็นเหตุให้อัตราภาษีบำรุงท้องที่สำหรับที่ดินเปลี่ยนแปลงไปต้องแจ้งต่อเจ้าพนักงานประเมินภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีเหตุแห่งการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ
เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการยื่นแบบ
2.ถ้าที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนเจ้าของอันเป็นเหตุให้อัตราภาษีบำรุงท้องที่สำหรับที่ดินเปลี่ยนแปลงไปต้องแจ้งต่อเจ้าพนักงานประเมินภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีเหตุแห่งการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ
กรณีที่ดินรายใหม่ หรือปีที่มีการตีราคาปานกลางให้เจ้าของที่ดินยื่นแบบเสียภาษีภายในเดือนมกราคมของปีที่มีการตีราคาปานกลางที่ดิน หรือทุกรอบระยะเวลา 4 ปี หรือภายใน 30 วัน กรณีที่ได้กรรมสิทธิ์ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยยื่นแบบ ภ.บ.ท.5 พร้อมสำเนาหลักฐานประกอบการพิจาร ได้แก่
1.บัตรประจำตัวประชาชน และทะเบียนบ้าน
2.โฉนดที่ดิน และหนังสือสัญญาซื้อขายที่ดิน หรือหนังสือสัญญาอย่างอื่น
3.ใบเสร็จรับเงินการเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
4.ใบมอบอำนาจ กรณีให้ผู้อื่นทำการแทน
การชำระภาษี
2.โฉนดที่ดิน และหนังสือสัญญาซื้อขายที่ดิน หรือหนังสือสัญญาอย่างอื่น
3.ใบเสร็จรับเงินการเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
4.ใบมอบอำนาจ กรณีให้ผู้อื่นทำการแทน
1.ในปีแรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดินให้ยื่นหลักฐานการแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) พร้อมชำระเงินภายในเดือนเมษายน กรณีได้รับแจ้งการประเมินหลังเดือนมีนาคมให้ชำระเงินภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
2.กรณีอื่นๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
2.1ปีแรกให้ยื่นหลักฐานการแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) พร้อมชำระเงินภายในเดือนเมษายน ถ้าเลยกำหนดให้ชำระภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งการประเมินภาษี
2.2กรณีอื่นๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
3.การขอชำระภาษีบำรุงท้องที่ในปีถัดไป จากปีที่มีการประกาศราคาปานกลางของที่ดิน ให้ผู้รับประเมินนำใบเสร็จรับเงินของปีก่อน พร้อมนำเงินไปชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี หากไม่ชำระภาษีตามที่กำหนดต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 24 ต่อปีของเงินค่าภาษีตองเสีย หรือร้อยละ 2 บาทต่อเดือน
4.การชำระเงินสามารถชำระเงินได้ ณ สำนักงานเขตท้องที่ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู่ หรือ สำนักงานเขตอื่นๆ หรือกองการเงินศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร หรือชำระด้วยตั๋วแลกเงินของธนาคาร หรือเช็คที่ธนาคารรับรอง โดยสั่งจ่าย “กรังเทพมหานคร” หรือชำระโดยการส่งธนาณัติสั่งจ่าย “หัวหน้าฝ่ายรายได้ สำนักงานเขต..........”
การเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน
2.กรณีอื่นๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
2.1ปีแรกให้ยื่นหลักฐานการแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) พร้อมชำระเงินภายในเดือนเมษายน ถ้าเลยกำหนดให้ชำระภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งการประเมินภาษี
2.2กรณีอื่นๆ ให้ชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี
3.การขอชำระภาษีบำรุงท้องที่ในปีถัดไป จากปีที่มีการประกาศราคาปานกลางของที่ดิน ให้ผู้รับประเมินนำใบเสร็จรับเงินของปีก่อน พร้อมนำเงินไปชำระภายในเดือนเมษายนของทุกปี หากไม่ชำระภาษีตามที่กำหนดต้องเสียเงินเพิ่มร้อยละ 24 ต่อปีของเงินค่าภาษีตองเสีย หรือร้อยละ 2 บาทต่อเดือน
4.การชำระเงินสามารถชำระเงินได้ ณ สำนักงานเขตท้องที่ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู่ หรือ สำนักงานเขตอื่นๆ หรือกองการเงินศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร หรือชำระด้วยตั๋วแลกเงินของธนาคาร หรือเช็คที่ธนาคารรับรอง โดยสั่งจ่าย “กรังเทพมหานคร” หรือชำระโดยการส่งธนาณัติสั่งจ่าย “หัวหน้าฝ่ายรายได้ สำนักงานเขต..........”
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน คือภาษีที่จัดเก็บจากโรงเรือนที่ให้เช่าที่ใช้ประกอบกิจการค้าและให้ผู้อื่นอยู่อาศัย
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี คือ “ผู้รับประเมิน” หมายถึง เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีเว้นแต่ถ้าที่ดิน และอาคารโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างเป็นคนละเจ้าของ ให้เจ้าของกรรมสิทธิ์อาคาร โรงเรือนสิ่งปลูกสร้างเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี
หลักฐานที่จะต้องนำมาประกอบในการยื่นเสียภาษีโรงเรือน และที่ดิน (กรณีรายใหม่)
1.หนังสืออนุญาตให้ปลูกสร้างอาคาร หนังสือให้เลขหมายเลขประจำบ้าน
2.โฉนดที่ดิน หนังสือโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน (พร้อมสิ่งปลูกสร้าง)
3.ทะเบียนบ้าน บัตรประจำตัวประชาชนเจ้าของกรรมสิทธิ์
4.หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล
5.ในทะเบียนการค้า ใบทะเบียนพาณิชย์ ใบอนุญาตประกอบกิจการค้าฯ
6.งบดุล งบกำไรขาดทุน
7.แบบ 72 ก (กรณีข้าราชการขอเบิกค่าเช่าบ้าน)
8.หนังสือสัญญาเช่า หรือใบเสร็จรับเงินค่าเช่า
9.ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ใบอนุญาตตั้งโรงงาน
10.แผนที่ตั้งสังเขปของโรงเรือนฯ
หมายเหตุ เมื่อได้รับการแจ้งการประเมินต้องนำเงินไปชำระภายใน 30 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน การไม่ชำระภาษีภายในเวลาที่กำหนดต้องเสียเงินเพิ่มเติมตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งมีอัตราตั้งแต่ร้อยละ 2.5 ถึงร้อยละ 102.โฉนดที่ดิน หนังสือโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน (พร้อมสิ่งปลูกสร้าง)
3.ทะเบียนบ้าน บัตรประจำตัวประชาชนเจ้าของกรรมสิทธิ์
4.หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล
5.ในทะเบียนการค้า ใบทะเบียนพาณิชย์ ใบอนุญาตประกอบกิจการค้าฯ
6.งบดุล งบกำไรขาดทุน
7.แบบ 72 ก (กรณีข้าราชการขอเบิกค่าเช่าบ้าน)
8.หนังสือสัญญาเช่า หรือใบเสร็จรับเงินค่าเช่า
9.ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ใบอนุญาตตั้งโรงงาน
10.แผนที่ตั้งสังเขปของโรงเรือนฯ
การเสียภาษีป้าย
ให้เจ้าของป้ายซึ่งจะต้องเสียภาษีป้าย ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) ณ ฝ่ายรายได้ สำนักงานเขต ซึ่งป้ายนั้นติดอยู่ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ป้ายที่ติดตั้งใหม่หรือมีการเปลี่ยนแปลงหลังจากเดือนมีนาคมให้ยื่นแบบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ติดตั้งหรือแสดงป้าย หรือนับตั้งแต่วันเปลี่ยนแลงแก้ไขแล้วแต่กรณี ให้เจ้าของป้ายมีหน้าที่เสียภาษีโดยเสียเป็นรายปี ยกเว้นป้ายที่เริ่มติดตั้งหรือแสดงในปีแรกให้เสียภาษีป้ายตั้งแต่วันที่เริ่มติดตั้งหรือแสดงจนถึงวันสิ้นปี และคิดภาษีป้ายเป็นรายงวด งวดละ 3 เดือนของปี โดยเริ่มเสียภาษีป้ายตั้งแต่งวดที่ติดตั้งป้ายจนถึงงวดสุดท้ายของปี
เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการยื่นแบบ
กรณีป้ายใหม่ ให้เจ้าของป้ายยื่นแบบเสียภาษี พร้อมสำเนาหลักฐาน และลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง ได้แก่
1.ทะเบียนบ้าน และบัตรประจำตัวประชาชน
2.ใบทะเบียนการค้าพาณิชย์
3.ใบอนุญาตติดตั้งป้าย หรือใบเสร็จรับเงินจากร้านทำป้าย (ถ้ามี)
4.หนังสือรับรองนิติบุคคล (กรณีบุคคล)
5.ใบมอบอำนาจกรณีให้ผู้อื่นดำเนินการแทน
6.อื่นๆ
หมายเหตุ ป้ายที่ติดตั้ง และแสดงไว้ที่รถยนต์หรือล้อเลือนอื่นใด ซึ่งมีพื้นที่มากเกินกว่า 500 ตารางเซนติเมตร ต้องยื่นแบบเสียภาษีป้าย ณ สำนักงานเขตท้องที่ซึ่งได้จดทะเบียนยานพาหนะไว้2.ใบทะเบียนการค้าพาณิชย์
3.ใบอนุญาตติดตั้งป้าย หรือใบเสร็จรับเงินจากร้านทำป้าย (ถ้ามี)
4.หนังสือรับรองนิติบุคคล (กรณีบุคคล)
5.ใบมอบอำนาจกรณีให้ผู้อื่นดำเนินการแทน
6.อื่นๆ
ติดต่อฝ่ายรายได้ อาคาร5ชั้น ชั้น3 เบอร์โทร. 0-2236-1515, 0-2236-4191, 0-2236-3161
ตั้งแต่เวลา 8.00-16.00 น.
- ดาวน์โหลดเอกสาร
- Facebook ฝ่ายรายได้
- คู่มือสำหรับประชาชน (ขั้นตอน ระยะเวลา เอกสาร)
ปรับปรุงข้อมูลเมื่อ 13 มิถุนายน 2560