การดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบริมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดย กรุงเทพมหานคร

 

กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร

กิจกรรมสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากร 

          เป็นการดำเนินการสำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรวัฒนธรรมภูมิปัญญา และรวมถึงสำรวจเก็บข้อมูลในเรื่องทรัพยากรกายภาพในพื้นที่ทราบแน่ชัดว่ากำลังจะเปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิม โดยข้อมูลที่ได้จะถูกจัดเก็บเข้าสู่งานฐานข้อมูลทรัพยากรต่อไป

1. สำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืชควรค่าแก่การอนุรักษ์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

          สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขต ดำเนินการสำรวจพืชควรค่าแก่การอนุรักษ์พันธุกรรมภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

ต้นไทรย้อย บริเวณชุมชนซอยบุญอยู่ หมู่ 3 แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 
ที่มา : สำนักงานเขตจอมทอง

 

 

ต้นลำไยเครือ บริเวณชุมชนคลองบางพรานพัฒนา แขวงคลองบางพราน เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร
ที่มา : สำนักงานเขตบางบอน

2. การสำรวจข้อมูลไม้ยืนต้นในสวนสาธารณะด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)

ที่มา : สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม

ที่มา : ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร 

          เป็นกิจกรรมต่อเนื่องจากกิจกรรมสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากร ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีค่า ใกล้สูญพันธุ์ ไปดำเนินงานต่อเนื่องโดยการนำพันธุกรรมทรัพยากรไปเพาะพันธุ์ปลูกในพื้นที่ปลอดภัย

1. การปลูกรักษาพันธุกรรมพืชควรค่าแก่การอนุรักษ์ 

          1. ปลูกและดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ในสวนสาธารณะหลัก 

การศัลยกรรมไม้ยืนต้นในสวนสาธารณะ

ที่มา : สวนสราญรมย์ สำนักสิ่งแวดล้อม

          2. ปลูกและดูแลบำรุงรักษาต้นไม้อนุรักษ์ต้นไม้หายากในพื้นที่เขต

 

 

การดูแลรักษาไม้ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยสำนักงานเขตดอนเมือง
ที่มา : สำนักงานเขตดอนเมือง

          3. ดำเนินการรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้หายากของไทย ณ โรงเรือนอนุบาลต้นไม้ บริเวณดาดฟ้า ชั้น 7 อาคารสำนักพัฒนาสังคม 

 

ที่มา : สำนักพัฒนาสังคม

2. การขยายพันธุ์พืชควรค่าแก่การอนุรักษ์เพื่อปลูกหรือแลกเปลี่ยนหรือแจกจ่ายพันธุกรรม

          1. สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม และสำนักงานเขต ดำเนินการขยายพันธุ์พืชที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ และดำเนินการเพาะขยายพันธุ์พืช 

สำนักงานเขตขยายพันธุ์พืชเพื่อเตรียมแจกจ่ายพันธุกรรม
ที่มา : สำนักงานเขตสาทรและสำนักงานเขตพระนคร

สำนักงานเขตบางบอนมอบพันธุ์ไม้แก่ประชาชน
ที่มา : สำนักงานเขตบางบอน

          2. ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Tissue culture) 

- สำนักพัฒนาสังคมขยายพันธุ์และแจกจ่ายให้กับประชาชนผู้สนใจทั่วไป เช่นช้างแดง หวายซีซาร์ เอื้องผึ้ง ช้างการ์ตูน บลูดำ

ที่มา : สำนักพัฒนาสังคม  

- สำนักสิ่งแวดล้อมขยายพันธุ์พืชควรค่าแก่การอนุรักษ์พันธุกรรม 

 

ที่มา : สำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม