เงินสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา
อัตราการเบิกจ่าย 1. ระดับอนุบาลและประถมศึกษา ไม่เกิน 3,000 บาท/คน/ปี
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่เกิน 3,500 บาท/คน/ปี
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ไม่เกิน 4,000 บาท/คน/ปี
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
4. ระดับอนุปริญญาหรือ ไม่เกิน 4,500 บาท/คน/ปี
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
4. ระดับปริญญาตรี ไม่เกิน 5,000 บาท/คน/ปี
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความช่วยเหลือ พิจารณาตามลาดับดังนี้
1. มีสัญชาติไทย และมีภูมิลาเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร ตามทะเบียนบ้าน
2. กาลังอยู่ระหว่างการศึกษาระดับอนุบาลถึงปริญญาตรี และมีหนังสือรับรองของสถานศึกษา
3. อายุไม่เกิน 25 ปี บิดามารดา หรือบิดา หรือมารดา หรือผู้ปกครองประสบภาวะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ตาย ทอดทิ้ง สาบสูญ ต้องโทษจาคุก หรือพิการ ทุพพลภาพ ป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ ประสบสาธารณภัย หรือเหตุอื่น จนไม่สามารถประกอบอาชีพหาเลี้ยงครอบครัวตามควรแก่อัตภาพได้
เอกสารที่ต้องใช้
1. สูติบัตร หรือบัตรประจาตัวประชาชน ทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
2. หนังสือรับรองของสถานศึกษา ต้องมีข้อความดังต่อไปนี้
- ชื่อบิดา-มารดา ต้องตรงกับสาเนาทะเบียนบ้าน
- ให้หมายเหตุว่าใช้สาหรับรับทุนการศึกษา, กาลังศึกษาอยู่ในชั้นนี้จริง
- ประทับตราโรงเรียนในชื่อ ผอ.ร.ร. ถ้าติดรูปประทับตราตรงรูปอีก 1 แห่ง
การขอรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
อัตราการเบิกจ่าย เบิกจ่ายตามอัตรา ตามมติคณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกาหนด
หลักเกณฑ์การจดทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ มีดังนี้
1. มีสัญชาติไทย และมีภูมิลาเนาอยู่ในพื้นที่เขตบางขุนเทียนตามทะเบียนบ้าน
2. มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ซึ่งได้ลงทะเบียน และยื่นคาขอรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุต่อเขต
บางขุนเทียน (ในกรณีที่ทะเบียนราษฎร์ระบุเฉพาะปีเกิดให้ถือว่าบุคคลนั้นเกิดในวันที่ 1 มกราคมของปีนั้น)
3. ไม่เป็นผู้ได้รับสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่นใดจากหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ผู้รับเงินบานาญ เบี้ยหวัด บานาญพิเศษ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน ผู้สูงอายุที่อยู่ในสถานสงเคราะห์ของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ที่ได้รับเงินเดือน ค่าตอบแทน รายได้ประจา หรือผลประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นที่รัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดให้เป็นประจา ยกเว้นผู้พิการและผู้ป่วยเอดส์ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยและระเบียบกรุงเทพมหานคร
4. ผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนด ต้องมายื่นคาขอฯด้วยตนเองหรือในกรณีมีความจาเป็นไม่สามารถมายื่นคาขอฯด้วยตนเองได้ ผู้สูงอายุสามารถมอบอานาจเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้อื่นเป็นผู้ยื่นคาขอขึ้นทะเบียนรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแทนได้
5. ผู้สูงอายุที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนด ยื่นคาขอขึ้นทะเบียนรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุต่อ “สานักงานเขต” ได้ตั้งแต่วันที่ 1 – 30 พฤศจิกายนของทุกปี (ในวันและเวลาราชการ)
เอกสารที่ต้องใช้
1. บัตรประจาตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐที่มีรูปถ่าย พร้อมสาเนา 1 ฉบับ (บัตรประชาชนต้องไม่หมดอายุ)
2. ทะเบียนบ้าน พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
3. สมุดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
4. หนังสือมอบอานาจ พร้อมสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของผู้รับมอบอานาจ (ในกรณียื่นคาขอขึ้นทะเบียนรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแทน)
การขอรับเงินสงเคราะห์ในการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี
อัตราการเบิกจ่าย รายละ 2,000.- บาท
หลักเกณฑ์การยื่นคาขอลงทะเบียนรับเงินสงเคราะห์ มีดังนี้
1. ผู้รับผิดชอบจัดการศพผู้สูงอายุยื่นแบบคาขอรับเงินสงเคราะห์ในการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี (แบบ สทส.01) ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ออกใบมรณบัตร โดยต้องยื่นเรื่องต่อสานักงานเขตท้องที่ที่ผู้สูงอายุมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
2. ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตต้องมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีสัญชาติไทย
เอกสารที่ต้องใช้
1. ใบมรณบัตรของผู้สูงอายุฉบับจริง พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
2. บัตรประจาตัวประชาชนและสาเนาทะเบียนบ้านผู้ยื่นคาขอรับเงินฯ พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
3. หนังสือรับรองผู้ยื่นคาขอรับผิดชอบในการจัดการศพตามประเพณี
ซึ่งรับรองโดยบุคคลซึ่งมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย และรู้เห็นการจัดการศพผู้สูงอายุรายนั้นพร้อมสาเนาบัตรประจาตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐ จานวน 1 ฉบับ
การขอรับเบี้ยความพิการ
อัตราการเบิกจ่าย เบิกจ่ายตามอัตรา ตามมติคณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกาหนด
หลักเกณฑ์การจดทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพความพิการ มีดังนี้
1. มีสัญชาติไทย มีบัตรประจาตัวคนพิการ และมีภูมิลาเนาอยู่ในกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้าน
2. ไม่เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในความอุปการะของสถานสงเคราะห์ของรัฐตามบัญชีรายชื่อที่ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประกาศกาหนด
3. ในกรณีคนพิการเป็นผู้ซึ่งต้องขังหรือจาคุกอยู่ในเรือนจา ทัณฑสถาน หรือสถานคุมขังของกรมราชทัณฑ์ หรือเป็นผู้ซึ่งถูกควบคุมอยู่ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ให้ไปลงทะเบียนและยื่นคาขอรับเบี้ยความพิการต่อผู้บัญชาการเรือนจา ผู้อานวยการทัณฑสถาน ผู้อานวยการสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ผู้อานวยการศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน หรือผู้บริหารที่เรียกชื่ออย่างอื่น แล้วแต่กรณี ซึ่งหน่วยงานได้มีหนังสือแจ้งกรุงเทพมหานครให้มีสิทธิได้รับเบี้ยความพิการ
4. คนพิการที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนด ต้องมายื่นคาขอฯด้วยตนเองหรือในกรณีมีความจาเป็นไม่สามารถมายื่นคาขอฯด้วยตนเองได้ ให้ผู้ดูแลคนพิการเป็นผู้ยื่นคาขอฯ แทน
5. คนพิการที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนด ยื่นคาขอรับเบี้ยความพิการต่อ “สานักงานเขต” ที่ตนเองมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านได้ตั้งแต่วันที่ 1 – 30 พฤศจิกายนของทุกปี (ในวันและเวลาราชการ)
เอกสารที่ต้องใช้
1. สาเนาบัตรประจาตัวคนพิการ และสาเนาทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร พร้อมรับรองความถูกต้อง 1 ฉบับ
2. สมุดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
4. หนังสือมอบอานาจ พร้อมสาเนาทะเบียนบ้านและสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของผู้ดูแลคนพิการ พร้อมรับรองความถูกต้อง (ในกรณีผู้ดูแลคนพิการเป็นผู้ยื่น)
การขอรับทุนประกอบอาชีพ
อัตราการเบิกจ่าย เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินครอบครัวละ 5,000.- บาทต่อปี
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความช่วยเหลือ พิจารณาตามลาดับ ดังนี้
1. มีสัญชาติไทย และมีภูมิลาเนาอยู่ในกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้าน
2. ครอบครัวประสบปัญหาความเดือดร้อน ยากจน เพราะเหตุหัวหน้าครอบครัวหรือผู้หาเลี้ยงครอบครัวตาย ทอดทิ้ง สาบสูญ ต้องโทษจาคุก หรือพิการ ทุพพลภาพ ป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ หรือเหตุอื่น จนไม่สามารถประกอบอาชีพหาเลี้ยงครอบครัวตามควรแก่อัตภาพได้
เอกสารที่ต้องใช้
1. บัตรประจาตัวประชาชน พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
2. ทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องในการรักษาพยาบาล
(ค่าพาหนะ ค่าอาหารระหว่างรักษาพยาบาลเท่าที่จาเป็น)
อัตราการเบิกจ่าย ไม่เกินครั้งละ 1,000.- บาทต่อคน และจะช่วยติดต่อกันไม่เกิน 3 ครั้ง
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความช่วยเหลือ พิจารณาตามลาดับดังนี้
1. มีสัญชาติไทย และมีภูมิลาเนาอยู่ในกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้าน
2. ประสบปัญหาความเดือดร้อน ยากจน และ/หรือไร้ที่พึ่ง
3. ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ตามความจาเป็นของแต่ละราย
เอกสารที่ต้องใช้
1. บัตรประจาตัวประชาชน พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
2. ทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
3. ใบรับรองแพทย์ 1 ฉบับ
ค่าครองชีพประจาวัน
อัตราการเบิกจ่าย ไม่เกินคนละ 1,000.- บาทต่อเดือน เป็นเวลาไม่เกิน 4 เดือน
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความช่วยเหลือ พิจารณาตามลาดับดังนี้
1. มีสัญชาติไทย และมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครตามทะเบียนบ้าน พักอาศัยอยู่ในเขตบางขุนเทียน
2. เป็นผู้สูงอายุ หรือคนพิการ หรือทุพพลภาพ ที่ประสบปัญหาความเดือดร้อน ยากจน และ/หรือไร้ที่พึ่ง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
3. ต้องไม่ใช่บุคคลที่ได้รับค่าเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและเบี้ยความพิการ
เอกสารที่ต้องใช้
1. บัตรประจาตัวประชาชน พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
2. ทะเบียนบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร พร้อมสาเนา 1 ฉบับ
การจัดตั้งลานกีฬาของกรุงเทพมหานคร
เอกสารประกอบ
1. ระยะเวลา 60 วันทาการหรือแล้วแต่ความพร้อมของชุมชน
2. หนังสือจากคณะกรรมการบริหารลานกีฬา หรือผู้แทนชุมชนลานกีฬา เพื่อขอจัดตั้งเป็นลานกีฬา
3. แบบสรุปข้อมูลลานกีฬา ประกอบด้วยประวัติความเป็นมา ข้อมูล ขอบเขต ขนาดของลานกีฬา ชนิดกีฬา หรือกิจกรรมออกกาลังกาย ข้อมูลสถิติผู้ใช้ลานกีฬาแต่ละประเภท ระยะเวลาการเปิดใช้ลานกีฬา กฎระเบียบของลานกีฬา
4. กรณีเป็นที่ดินของเอกชนหรือหน่วยงาน ต้องมีหนังสืออนุญาตหรือยินยอมจากเจ้าของกรรมสิทธิ์
5. แผนที่ แผนผังทางไปลานกีฬา ภาพถ่ายสภาพลานกีฬา
ขั้นตอน
1. ผู้แทนประชาชนที่ขอจัดตั้งลานกีฬาสารวจ และจัดทาสรุปข้อมูลพื้นฐานลานกีฬา
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสถานที่จัดตั้งลานกีฬา พิจารณาความพร้อม การบริหารจัดการ และความเหมาะสมด้านกายภาพของลานกีฬา
3. ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ สานักงานเขต มีหนังสือถึงสานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เพื่อพิจารณาการจัดตั้งลานกีฬา และมอบหมายเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความพร้อมของสถานที่ในการจัดตั้ง และสรุปความเห็นในการจัดตั้ง และมีหนังสือแจ้งผลการจัดตั้งเป็นลานกีฬามาให้สานักงานเขตทราบ และแจ้งผู้แทนประชาชนที่ขอจัดตั้งลานกีฬาทราบต่อไป
การจัดตั้งกลุ่มอาชีพของกรุงเทพมหานคร
1. ต้องมีสมาชิกไม่ต่ากว่ากลุ่มละ 10 คน และกาหนดให้มีหัวหน้า กลุ่ม 1 คน
2. การยื่นขอจดทะเบียนการจัดตั้งกลุ่มอาชีพให้ยื่น ณ สานักงานเขตที่หัวหน้ากลุ่มมีภูมิลาเนาอยู่ตามแบบ กอ.1 โดยแนบเอกสารหลักฐานและรายละเอียดประกอบการพิจารณา ดังนี้
2.1 รายชื่อสมาชิกกลุ่มอาชีพ
2.2 วัตถุประสงค์การประกอบอาชีพของกลุ่ม
2.3 สาเนาทะเบียนบ้านและบัตรประจาตัวประชาชนของสมาชิกกลุ่มอาชีพ
2.4 ข้อมูลการประกอบอาชีพหรือประสบการณ์ด้านอาชีพ
2.5 หนังสือมอบอานาจจากสมาชิกกลุ่มอาชีพ ให้หัวหน้ากลุ่มอาชีพเป็นตัวแทนในการทานิติกรรมสัญญา หรือทาการอื่นใด กับกรุงเทพมหานคร
3. ให้ผู้อานวยการเขตหรือผู้ที่ผู้อานวยการเขตมอบหมายตรวจสอบเอกสารหลักฐานและรายละเอียดก่อนจดทะเบียนรับรองกลุ่มอาชีพ
4. ให้ผู้อานวยการเขตเป็นนายทะเบียนจดทะเบียนรับรองการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ และออกใบทะเบียนการจัดตั้งกลุ่มอาชีพให้ตามแบบ กอ.2
กองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร
คุณสมบัติกองทุนชุมชนที่มีสิทธิ์ขอกู้ยืม
1. เป็นกองทุนชุมชนที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร และประกาศเป็นชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยกรรมการชุมชน พ.ศ.2534
2. จัดตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน
3. มีเงินสะสมอยู่แล้วไม่น้อยกว่า 10,000.- บาท
4. มีกรรมการบริหารกองทุนชุมชนไม่น้อยกว่า 7 คน
5. กองทุนชุมชนได้รับความเห็นชอบจากกรรมการชุมชน
หลักเกณฑ์และขั้นตอนการกู้ยืมเงินสมทบ
1. คณะกรรมการกองทุนชุมชนขอกู้ยืมในฐานะกลุ่มเท่านั้น จะกู้ยืมเงินเป็นรายบุคคลไม่ได้
2. ขอรับแบบฟอร์มการกู้ยืมเงินยืมสมทบได้ที่ สานักงานเขตพื้นที่ หรือที่กองการพัฒนาชุมชน สานักพัฒนาสังคม
3. โครงการที่เสนอขอกู้ยืมเงินยืมสมทบต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการชุมชน
4. เสนอโครงการพร้อมหลักฐานได้ที่สานักงานเขตพื้นที่ในวันและเวลาราชการ
5. สานักพัฒนาสังคมเสนอโครงการให้คณะกรรมการกองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานครพิจารณา และแจ้งผลการพิจารณาไปยังสานักงานเขตพื้นที่
6. โครงการที่ได้รับการอนุมัติ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานครจะนัดหมายคณะกรรมการกองทุนมาทาสัญญากู้ยืมเงินและสัญญาค้าประกันต่อไป
7. ค้าประกันการกู้ยืม โดยคณะกรรมการชุมชน หรือสมาชิกกลุ่มไม่น้อยกว่า 7 คน หรือที่ดิน หรืออาคารพร้อมที่ดิน หรือหลักทรัพย์อื่น ๆ
การจัดตั้งชุมชนของกรุงเทพมหานคร
หลักเกณฑ์และขั้นตอนการจัดตั้งชุมชน
1. ชุมชนมีความพร้อมและเห็นพ้องต้องกันในการดาเนินการจัดตั้งชุมชน
2. ตัวแทนชุมชนร่วมกันสารวจข้อมูลชุมชน และจัดทาแผนที่ชุมชน
3. ตัวแทนชุมชนส่งหนังสือแจ้งความประสงค์ พร้อมเอกสารข้อมูลชุมชน แผนที่ชุมชน และรูปถ่ายสภาพชุมชน ให้สานักงานเขตพิจารณา
4. สานักงานเขตโดยฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ พิจารณาตรวจสอบความเป็นไปได้ความพร้อมในการจัดตั้งชุมชน
5. สานักงานเขตโดยฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ จัดทาหนังสือขอจัดตั้งชุมชนพร้อมแนบเอกสารและรายละเอียดเสนอสานักพัฒนาสังคม ดังนี้
- หนังสือขอจัดตั้งชุมชนพร้อมเหตุผลในการขอจัดตั้งชุมชนจากตัวแทนชุมชนถึงผู้อานวยการเขต และผู้อานวยการเขตมีความเห็นสมควรจัดตั้งเป็นชุมชน
- มีชื่อชุมชน ที่ตั้ง แผนที่แสดงขอบเขตของชุมชน และผังแสดงที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้างและบริเวณข้างเคียงของชุมชน
- จานวนที่อยู่อาศัย ที่ประชาชนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 50 หลังคาเรือน ยกเว้นชุมชนชานเมืองต้องไม่น้อยกว่า 30 หลังคาเรือน
- ข้อมูลชุมชน ข้อมูลประชากร ข้อมูลการคมนาคม สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
- เจ้าบ้านจานวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนหลังคาเรือนของชุมชนลงนามเห็นด้วยกับการจัดตั้งชุมชน
- ให้มีกลุ่มด้านการพัฒนาชุมชนอย่างน้อย 3 กลุ่ม เช่น กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ และกลุ่มทางสังคม เป็นต้น และมีระยะเวลาจัดตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน โดยมีหลักฐานการดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
- กรณีบริเวณสถานที่ตั้งชุมชนเป็นที่ดินของเอกชนหรือหน่วยงาน ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน
6. สานักพัฒนาสังคมตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เอกสารที่ได้รับ หากข้อมูลเอกสารที่ได้รับไม่ครบถ้วน ถูกต้อง ต้องประสานงานกับฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ สานักงานเขต เพื่อขอข้อมูล เอกสารให้ครบถ้วน ถูกต้องต่อไป
7. สานักพัฒนาสังคมจัดทาหนังสือ และประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องกาหนดชุมชนเป็นชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยกรรมการชุมชน พ.ศ.2534 เพื่อให้ปลัดกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบและลงนามในประกาศดังกล่าว
8. สานักพัฒนาสังคมจัดทาหนังสือส่งประกาศกาหนดชุมชนถึงผู้อานวยการเขต หลังจากปลัดกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบและลงนามในประกาศดังกล่าวแล้ว
การเลือกตั้งคณะกรรมการชุมชน
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. ผู้อานวยการเขต จัดทาประกาศ กาหนดระยะเวลารับสมัคร สถานที่และวันเลือกตั้งกรรมการชุมชน
2. ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ ดาเนินการรับสมัครผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งกรรมการ ชุมชนตามวันเวลาที่
ระบุในประกาศ ตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครเป็นกรรมการชุมชน
3. ผู้อานวยการเขตจัดทาประกาศ บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง โดยมอบหมายฝ่ายพัฒนาชุมชนจัดทา
บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งกรรมการชุมชน และติดประกาศไว้ในชุมชนให้ทราบก่อนวันเลือกตั้งอย่างน้อย
7 วัน โดยให้ประชาชนมีสิทธิยื่นคาร้องขอเพิ่มเติมรายชื่อ หรือขอถอนรายชื่อต่อผู้อานวยการเขต ก่อนวัน
เลือกตั้งไม่น้อยกว่า 7 วัน
4. ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ ดาเนินการเลือกตั้งตามวันเวลาและสถานที่ที่กาหนด โดยดาเนินการตาม
ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ.2555
5. สานักงานเขตประกาศผลการเลือกตั้ง กรรมการชุมชนตามแบบ กช.10 และจัดทาประกาศการแต่งตั้งกรรมการชุมชนตามแบบ กช. 11
6. ผู้อานวยการเขตหรือข้าราชการที่ได้รับมอบหมาย จัดให้มีการประชุมกรรมการชุมชนครั้งแรก ภายใน 30 วันนับแต่วันเลือกตั้ง เพื่อพิจารณาเลือกกรรมการชุมชนตาแหน่งต่างๆ