ภาษีโรงเรือนและภาษีที่ดิน
ให้เจ้าของโรงเรือนสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินยื่นแบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.๒) ณ สานักงานเขต ซึ่งโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ตั้งอยู่
ภายในเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน : อัตราค่าภาษีร้อยละ 12.5 ขอค่ารายปี
ค่ารายปี หมายถึง จานวนเงินซึ่งทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ในปีหนึ่ง ๆ ในกรณีที่ทรัพย์สินนั้นให้เช่าให้ถือว่าค่าเช่านั้นคือค่ารายปี แต่ถ้าเป็นกรณีที่ มีเหตุอันสมควรที่ทาให้พนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่า
ค่าเช่านั้นมิใช้จานวนเงินอันสมควรที่จะให้เช่าได้ หรือเป็นกรณีที่หาค่าเช่าไม่ได้เนื่องจากแจ้งของทรัพย์สิน
ดาเนินการเอง หรือด้วยเหตุประการอื่น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอานาจประเมินค่ารายปีได้ โดยคานึงถึงลักษณะทรัพย์สินขนาด พื้นที่ ทาเล ที่ตั้ง และบริการสาธารณะที่ทรัพย์สินนั้น ได้รับประโยชน์
หลักฐานที่ใช้ประกอบการยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด. 2)
 โฉนดที่ดิน ที่ปลูกสร้างโรงเรือน
 หนังสือสัญญาซื้อขาย , ให้เช่า ที่ดิน หรือ ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
 ใบอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคาร ใบอนุญาตให้ใช้อาคาร
 ใบให้เลขหมายประจาบ้าน
 สาเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของโรงเรือน สาเนาทะเบียนบ้านของโรงเรือนที่พิกัดภาษี
 บัตรประจาตัวประชาชนหรือบัตรข้าราชการ หรือบัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ
 เลขประจาตัวผู้เสียภาษี / เลขทะเบียนการค้า
 หลักฐานการเปิดดาเนินกิจการ เช่น หนังสือรับรองจดทะเบียน ทะเบียนการค้า ทะเบียนพาณิชย์
 สาเนางบการเงิน (กรณีเป็นนิติบุคคล)
 หลักฐานของสรรพากรเช่น ภ.พ. 01 ,ภ.พ. 09, ภ.พ. 20
 ใบอนุญาตตั้งและ / หรือประกอบกิจการโรงงาน
 ใบอนุญาตติดตั้งเครื่องจักร
 ใบอนุญาตของฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
 ใบเสร็จค่าติดตั้งมิเตอร์น้าประปา ไฟฟ้า
 สัญญาเช่าโรงเรือนที่พิกัดภาษี
 หนังสือมอบอานาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเองพร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย)
 หลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์โรงเรือนที่พิกัดภาษี
หมายเหตุ ให้ผู้รับประเมิน หรือเจ้าของโรงเรือน ถ่ายสาเนาหลักฐาน เอกสารที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้นพร้อมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องกากับทุกฉบับ
มาขอรับแบบยื่นภาษีโรงเรือนและที่ดินได้ที่สานักงานเขตของกรุงเทพมหานคร

ภาษีป้าย
ภาษีป้าย : อัตราค่าภาษี คานวณตามพื้นที่ป้าย (กว้าง x ยาว) เป็นตารางเซนติเมตร ตามประเภทป้าย ดังนี้
ป้ายประเภท 1 เป็นป้ายที่มีแต่อักษรไทยเพียงอย่างเดียวเท่านั้น คิดอัตรา 3 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
ป้ายประเภท 2 เป็นป้ายที่มีอักษรไทยปนกับอักษรต่างประเทศ หรือปนกับภาพหรือปนกับเครื่องหมายอื่นทั้งหมดคิดอัตรา 20 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
ป้ายประเภท 3 เป็นป้ายที่ไม่มีอักษรไทยหรือเป็นป้านที่มีอักษรไทยบางส่วนหรือทั้งหมด อยู่ใต้หรืออยู่ต่ากว่าอักษรต่างประเทศ คิดอัตรา 40 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
หมายเหตุ ป้ายทุกป้ายที่คานวณค่าภาษีแล้วมีค่าภาษีต่ากว่าป้ายละ 200 บาท ให้เสียภาษีอย่างต่าป้ายละ 200 บาท
หลักฐานที่ใช้ประกอบการยื่นแบบภาษีป้าย
เจ้าของป้ายซึ่งแสดงป้ายชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการประกอบการค่าหรือประกอบกิจการอื่น โดยมีเจตนาเพื่อหารายได้หรือโฆษณาการค้าหรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะได้แสดงหรือโฆษณา ไว้ที่วัตถุใด ๆ หรือทาให้ปรากฏด้วยวิธีใดๆ ก็ตามมีหน้าที่ต้องเสียภาษีป้าย
กรณีที่ไม่อาจหาตัวเจ้าของป้ายได้ ผู้ครอบครองป้าย เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือที่ดินที่เป็นที่ติดตั้งป้าย เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายตามลาดับ
การยื่นแบบ ให้เจ้าของป้ายยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีป้าย (ภ.ป. 1) ณ ฝ่ายรายได้ สานักงานเขตบางกะปิ ดังนี • กรณีป้ายโฆษณาที่ติดตั้งใหม่ ให้ยื่นแบบ (ภ.ป.1) ภายใน 15 วัน • กรณีป้ายที่ชาระค่าภาษีป้ายต่อเนื่องทุกปี ให้ยื่นแบบ (ภ.ป. 1) ได้ตั้งแต่ เดือนมกราคม ถึง เดือนมีนาคม ของทุกปี • กรณีป้ายที่ชาระค่าภาษีป้ายประจาปีแล้วต้องการเปลี่ยนแปลงป้าย ให้มาแจ้ง ภายใน 15 วัน • หากท่านปลดป้ายลงเนื่องจากเลิกกิจการกรุณาแจ้งให้ทราบภายในเดือนธันวาคม ของทุกปี
เอกสารประกอบการยื่นแบบ (ภ.ป.1) พร้อมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง
ภาษีป้าย : อัตราค่าภาษี คานวณตามพื้นที่ป้าย (กว้าง x ยาว) เป็นตารางเซนติเมตร ตามประเภทป้าย ดังนี้
ป้ายประเภท 1 เป็นป้ายที่มีแต่อักษรไทยเพียงอย่างเดียวเท่านั้น คิดอัตรา 3 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
ป้ายประเภท 2 เป็นป้ายที่มีอักษรไทยปนกับอักษรต่างประเทศ หรือปนกับภาพหรือปนกับเครื่องหมายอื่นทั้งหมดคิดอัตรา 20 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
ป้ายประเภท 3 เป็นป้ายที่ไม่มีอักษรไทยหรือเป็นป้านที่มีอักษรไทยบางส่วนหรือทั้งหมด อยู่ใต้หรืออยู่ต่ากว่าอักษรต่างประเทศ คิดอัตรา 40 บาท ต่อห้าร้อยตารางเซนติเมตร
หมายเหตุ ป้ายทุกป้ายที่คานวณค่าภาษีแล้วมีค่าภาษีต่ากว่าป้ายละ 200 บาท ให้เสียภาษีอย่างต่าป้ายละ 200 บาท
หลักฐานที่ใช้ประกอบการยื่นแบบภาษีป้าย
เจ้าของป้ายซึ่งแสดงป้ายชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการประกอบการค่าหรือประกอบกิจการอื่น โดยมีเจตนาเพื่อหารายได้หรือโฆษณาการค้าหรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะได้แสดงหรือโฆษณา ไว้ที่วัตถุใด ๆ หรือทาให้ปรากฏด้วยวิธีใดๆ ก็ตามมีหน้าที่ต้องเสียภาษีป้าย
กรณีที่ไม่อาจหาตัวเจ้าของป้ายได้ ผู้ครอบครองป้าย เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือที่ดินที่เป็นที่ติดตั้งป้าย เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายตามลาดับ
การยื่นแบบ ให้เจ้าของป้ายยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีป้าย (ภ.ป. 1) ณ ฝ่ายรายได้ สานักงานเขตบางกะปิ ดังนี • กรณีป้ายโฆษณาที่ติดตั้งใหม่ ให้ยื่นแบบ (ภ.ป.1) ภายใน 15 วัน • กรณีป้ายที่ชาระค่าภาษีป้ายต่อเนื่องทุกปี ให้ยื่นแบบ (ภ.ป. 1) ได้ตั้งแต่ เดือนมกราคม ถึง เดือนมีนาคม ของทุกปี • กรณีป้ายที่ชาระค่าภาษีป้ายประจาปีแล้วต้องการเปลี่ยนแปลงป้าย ให้มาแจ้ง ภายใน 15 วัน • หากท่านปลดป้ายลงเนื่องจากเลิกกิจการกรุณาแจ้งให้ทราบภายในเดือนธันวาคม ของทุกปี
เอกสารประกอบการยื่นแบบ (ภ.ป.1) พร้อมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง
• ใบอนุญาตติดตั้งป้าย , ใบเสร็จรับเงินค่าทาป้าย • รูปถ่ายป้าย , วัดขนาดความกว้าง x ยาว • สาเนาทะเบียนบ้าน • บัตรประจาตัวประชาชน / บัตรข้าราชการ / บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ • เลขประจาตัวผู้เสียภาษี / เลขที่ทะเบียนการค้า (กรณีนิติบุคคล) • กรณีเจ้าของป้ายเป็นนิติบุคคลให้แนบหนังสือรับรองสานักงานทะเบียนทุ้นส่วนบริษัท , ทะเบียนพาณิชย์และหลักฐานของสรรพากร เช่น ภ.พ. 01 , ภ.พง 09, ภ.พ. 20 • หนังสือมอบอานาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย) และใบเสร็จรับเงินการเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
กรณีภาษีป้าย (รายเก่า) ที่ยื่นชาระทุกปี
• สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน ของเจ้าของป้าย • สาเนาใบเสร็จของสรรพกร ในกรณีเจ้าของป้ายเป็นนิติบุคคล หมายเหตุ มาขอรับแบบยื่นภาษีป้ายได้ที่สานักงานเขตของกรุงเทพมหานคร

ภาษีบารุงท้องที่
หลักฐานที่ใช้ประกอบการยื่นแบบภาษีบารุงท้องที่  สาเนาโฉนดที่ดิน (ถ่ายเอกสารทุกหน้า)  หนังสือสัญญาซื้อขาย ในกรณีที่ขายที่ดินไปบางส่วนหรือทั้งหมด  สาเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของที่ดิน  สานาบัตรประชาชนของเจ้าของที่ดิน  หนังสือมอบอานาจ ในกรณีที่เจ้าของที่ดินไม่สามารถมายื่นแบบด้วยตนเอง กรณีเป็นรายเก่าที่เคยยื่นเสียภาษีแล้ว ให้นาใบเสร็จชาระเงินปีเก่ามาแสดงด้วย หมายเหตุ มาขอรับแบบยื่นภาษีบารุงท้องที่ได้ที่สานักงานเขตของกรุงเทพมหานคร