วันพุธที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี 2560
เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2560
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย
1) หญิงตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
2) เด็กอายุ 6 เดือนถึง 2 ปี ทุกคน (หมายถึง กลุ่มเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 เดือนเต็มจนถึงอายุ 2 ปี 11 เดือน 29 วัน)
3) ผู้มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน
4) บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน
5) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
6) ธาลัสซีเมียและผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ)
7) โรคอ้วน (น้ำหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
ใครไม่ควรฉีดวัคซีนหรือควรเลื่อนการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
- เด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน
- คนที่มีประวัติแพ้ไก่หรือไข่ไก่อย่างรุนแรง เพราะ วัคซีนผลิตในไข่ไก่
- ผู้ที่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่รุนแรง หรือแพ้สารประกอบอื่น ๆ ในวัคซีนอย่างรุนแรง
- กำลังมีไข้หรือเจ็บป่วยเฉียบพลัน
- เพิ่งหายจากการเจ็บป่วยเฉียบพลันมาไม่เกิน 7 วัน
- เพิ่งมานอนรักษาตัวและออกจากโรงพยาบาลไปไม่เกิน 14 วัน
- โรคประจำตัวเรื้อรังที่ยังมีอาการกำเริบ เช่น เจ็บแน่นหน้าอก ใจสั่น หอบเหนื่อย หรือยังควบคุมอาการของโรคไม่ได้
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย
1) หญิงตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
2) เด็กอายุ 6 เดือนถึง 2 ปี ทุกคน (หมายถึง กลุ่มเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 เดือนเต็มจนถึงอายุ 2 ปี 11 เดือน 29 วัน)
3) ผู้มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน
4) บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน
5) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
6) ธาลัสซีเมียและผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ)
7) โรคอ้วน (น้ำหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
ใครไม่ควรฉีดวัคซีนหรือควรเลื่อนการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
- เด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน
- คนที่มีประวัติแพ้ไก่หรือไข่ไก่อย่างรุนแรง เพราะ วัคซีนผลิตในไข่ไก่
- ผู้ที่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่รุนแรง หรือแพ้สารประกอบอื่น ๆ ในวัคซีนอย่างรุนแรง
- กำลังมีไข้หรือเจ็บป่วยเฉียบพลัน
- เพิ่งหายจากการเจ็บป่วยเฉียบพลันมาไม่เกิน 7 วัน
- เพิ่งมานอนรักษาตัวและออกจากโรงพยาบาลไปไม่เกิน 14 วัน
- โรคประจำตัวเรื้อรังที่ยังมีอาการกำเริบ เช่น เจ็บแน่นหน้าอก ใจสั่น หอบเหนื่อย หรือยังควบคุมอาการของโรคไม่ได้