แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๔๘ - ๒๕๕๑)
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
สถานีตำรวจ แห่ง
สถานีดับเพลิง แห่ง
 
 
- ด้านการศึกษา
มีจำนวนสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครและสถานศึกษาสังกัดอื่นๆเพียงพอกับจำนวนนักเรียนในพื้นที่ มีวัยศึกษาร้อยละ ๕๔.๑๘  สัดส่วนนักเรียนต่อห้อง  ๒๕/ ๑          
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
จำนวนสถาบันการศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร ๑๓ แห่ง
จำนวนนักเรียน ๑๑๒,๖๘ คน
จำนวนสถาบันการศึกษาสังกัดอื่นๆ ๑๒ แห่ง
จำนวนนักเรียน ๑๖,๔๑๖ คน
จำนวนสถาบันการศึกษาขั้นอุดมศึกษา แห่ง
จำนวนนักเรียน ๔๕๐ คน
 
 
- ด้านสาธารณสุข
การบริการด้านสาธารณสุขมีศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลเอกชนรวมทั้งคลินิค
แต่ยังไม่มีโรงพยาบาลของรัฐในพื้นที่
 
 
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
คลินิก ๑๖ แห่ง
ศูนย์บริการสาธารณสุข แห่ง
โรงพยาบาลรัฐ แห่ง
โรงพยาบาลเอกชน แห่ง
 
  
 
- ศาสนสถาน/อาคารที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์
เขตมีนบุรีเป็นพื้นที่พักอาศัยใหม่ย่านชานเมือง สภาพพื้นที่เป็นลักษณะกึ่งเมืองกึ่งชนบท ประชากรมีทั้งไทยพุทธและมุสลิม   มีวัด ๖ วัด    มัสยิด ๑๓ แห่ง  มีอาคารเก่าควรค่าแก่การอนุรักษ์ ๑ แห่ง  คืออาคารเรือนไม้สักซึ่งเป็นที่ว่าการอำเภอมีนบุรี
  
 
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
โบราณสถาน แห่ง
วัด วัด
มัสยิด ๑๓ มัสยิด
คริสตจักร - แห่ง
 
 
- บริการสังคมอื่นๆ
เขตให้บริการ ด้านสังคมพอสมควร เนื่องจากมีทั้งห้องสมุด  ศูนย์เยาวชน สวนสาธารณะ  ลานกีฬาจำนวนมากซึ่งสอดคล้องกับนโยบายสนับสนุนด้านการออกกำลังกาย
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
จำนวนประชากรรวม ๑๑๗.๑๘๓ คน
โครงสร้างอายุของประชากร (จำแนกตามช่วงอายุ)
ช่วงอายุ ๐-๔ ปี ๗,๙๖๙ ๖.๘๐ %
ช่วงอายุ ๕-๒๔ ปี ๓๗,๕๗๖ ๓๒.๐๗ %
ช่วงอายุ ๒๕-๕๙ ปี ๖๓,๔๘๗ ๕๔.๑๘ %
ช่วงอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป ๘,๑๕๑ ๖.๙๕ %
ความหนาแน่น ๑๘๖๐ คน/ตารางกิโลเมตร
การเพิ่ม/ลดของประชากรโดยเฉลี่ย
(ในรอบ ๔ ปีที่ผ่านมา)
+ ๙.๐๒ %
จำนวนบ้านทั้งหมด ๔๐,๐๖๘ หลัง
ชุมชน ๕๖ ชุมชน
หอพัก - แห่ง
โครงการที่อยู่อาศัยของรัฐ แห่ง
จำนวนคน/หลัง คน/หลัง
       
 
- ด้านสาะรณูปโภค
- การให้บริการไฟฟ้าและน้ำประปา
           มีไฟฟ้าให้บริการทั่วพื้นที่เขต แต่น้ำประปายังไม่ทั่วถึง โดยพื้นที่บางแห่งยังใช้น้ำบาดาล
- การบริการโทรศัพท์
           มีศูนย์บริการโทรศัพท์ให้บริการ แต่ประชาชนนิยมใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยเฉพาะพื้นที่รอบนอก
- การระบายน้ำและการป้องกันน้ำท่วม
          เขตมีนบุรีเป็นที่ราบลุ่มมีคลองธรรมชาติและคลองที่ขุดขึ้นเพื่อการชลประทาน ๔๑  แห่งและเป็น
พื้นที่รับน้ำตามโครงการพระราชดำริ  มีประตูระบายน้ำและคันกั้นน้ำป้องกันน้ำไม่ให้ไหลเข้าพื้นที่เขต
ชั้นในพื้นที่เกษตรกรรมเปลี่ยนแปลงเป็นหมู่บ้านจัดสรรทำให้พื้นที่รับน้ำลดลง พื้นที่นอกคันกั้นน้ำบาง
แห่งเป็นที่ลุ่มมีน้ำขังในฤดูน้ำหลาก   เมื่อมีฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้มีการระบายน้ำจากพื้นที่ตอนเหนือ
และเขตข้างเคียง
 
- การจัดการคุณภาพน้ำ
                  มีการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในคูคลองโดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนสถานประกอบการมิให้ทิ้งขยะของเสียลงคูคลองและตรวจคุณภาพน้ำในคูคลองโดยการเก็บตัวอย่างน้ำส่งตรวจซึ่งค่าเฉลี่ยของออกซิเจนละลายในน้ำ(DO)ในคลองเป้าหมายไม่เกินมาตรฐาน
- ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
เขตมีนบุรีมีการสำรวจและติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะในถนน ซอย และตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยตามแผน

สำนักงานเขต มีนบุรี
 
  1. สภาพทั่วไป
.๑  ลักษณะทางกายภาพ
-      ขนาดพื้นที่โดยรวม ๖๓.๖๔๕ ตารางกิโลเมตร
  • แบ่งเขตปกครอง ออกเป็น ๒  แขวง พื้นที่และประชากรแต่ละแขวง ดังนี้
ลำดับ แขวง พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (คน)
๑. มีนบุรี ๒๘.๔๙๕ ๘๐,๓๐๑
๒. แสนแสบ ๓๕.๑๘๖ ๓๖,๘๘๒
       
      ๑๑๗,๑๘๓
 
- การใช้ประโยชน์ที่ดิน
           เขตมีนบุรี จัดเป็นแหล่งเกษตรกรรม เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรมถึง
ร้อยละ ๒๔.๙๖ ของพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งยังมีพื้นที่ว่างอีกถึงร้อยละ ๓๗.๒ ที่สามารถพัฒนา
เพื่อ ใช้สอยอื่นๆต่อไปในอนาคต
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ (ตร.กม.) คิดเป็น ร้อยละ
ที่อยู่อาศัย ๙.๖๑๑ ๑๕.๑๐
พาณิชยกรรม ๑.๙๖๔ ๒.๖๖
อุตสาหกรรม ๐.๙๒๐ ๑.๔๕
คลังสินค้า ๐.๒๙๖ ๐.๔๗
สถาบันราชการ ๐.๒๐๔ ๐.๓๒
สถาบันการศึกษา ๑.๓๘๘ ๐.๖๑
สถาบันศาสนา ๐.๑๔๓ ๑.๒๓
นันทนาการ ๐.๐๘๓ ๐.๑๓
เกษตรกรรม ๑๕.๘๘๘ ๒๔.๙๖
ที่ว่าง ๒๓.๖๘๓ ๓๗.๒๑
แหล่งน้ำ ๖.๙๒๑ ๑๐.๘๗
ถนน ๓.๘๑๔ ๕.๙๙
อื่นๆ - -
 
.๒ ลักษณะทางประชากรและสังคม
- ประชากรและเคหะ
ประชากรเขตมีนบุรี  ส่วนใหญ่ อายุระหว่าง ๒๕– ๕๙ ปี ซึ่งคิดเป็นร้อยละ ๕๔.๑๘  ของประชากร
ทั้งหมด ๑๑๗,๑๘๓ คน ซึ่งประชากรกลุ่มนี้จัดอยู่ในวัยทำงาน ในด้านความหนาแน่นของประชากร
เขตมีนบุรีความหนาแน่นค่อนข้างน้อยถึงปานกลาง
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ห้องสมุดประชาชน แห่ง
ศูนย์เยาวชน ศูนย์
สวนสาธารณะ สวน
ลานกีฬา ๔๓ แห่ง
 
  
๑.๓ ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เขตมีนบุรีมีตลาดสด ร้านค้าจำนวนมาก เนื่องจากเป็นพื้นที่อยู่อาศัยชานเมืองและมีบริการด้านอื่นเช่นสถานีบริการน้ำมัน,ก๊าซ ,สถานบันเทิง,ธนาคาร แต่ไม่มีโรงแรมและโรงภาพยนต์ในเขตนี้ 
 
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ตลาดสด แห่ง สถานีบริการน้ำมัน ๑๙ แห่ง
หาบเร่แผงลอย ๙๙ แห่ง สถานีบริการปั๊มก๊าซ แห่ง
ร้านสะดวกซื้อ ๓๔ แห่ง โรงภาพยนตร์ แห่ง
ค้าปลีก ๒๙๙ แห่ง สถานบันเทิง ๑๓ แห่ง
ค้าปลีกขนาดใหญ่ แห่ง โรงแรม แห่ง
ค้าส่ง ๕๘๙ แห่ง จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม ๒๗๖ แห่ง
ธนาคาร ๑๐ แห่ง นิคมอุตสาหกรรม แห่ง
โรงรับจำนำ แห่ง คลังสินค้าที่จดทะเบียน แห่ง
ร้านอาหาร ๑๙ แห่ง      
 
  1. วิสัยทัศน์
 
     มีนบุรีเมืองน่าอยู่  สังคมคู่คุณธรรม ทุกครอบครัวมีความสุข ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดี 
 
 
  1. เป้าประสงค์การพัฒนา
        ๑. ประชาชนเดินทางสะดวก รวดเร็วและปลอดภัย
       ๒.แหล่งพักอาศัยที่น่าอยู่ สภาพแวดล้อมที่ดี
       ๓.ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
       ๔.ประชาชนได้รับบริการทางการศึกษาและบริการทางสังคมทั่วถึง
       ๕.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมให้ยังยืน
       ๖. มีแหล่งเกษตรกรรมเพื่อการค้าและส่งเสริมให้เป็นแหล่งอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่ประชาชน
       ๗.มีสภาพภูมิทัศน์เป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
       ๘.ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง
       ๙. ประชาชนสามารถทราบข้อมูลข่าวสารของราชการจากระบบสารสนเทศ 
  1. กลยุทธ์
.๑ กลยุทธ์ตามยุทธศาสตร์ในแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร และกลยุทธ์เพิ่มเติมตามภารกิจเฉพาะ/สภาพพื้นที่
ด้านจราจร
๑.  จัดให้มีที่จอดรถจักรยานในถนนทุกสายที่สภาพถนนเอื้ออำนวยเพื่อส่งเสริมการใช้จักรยานและเพิ่มความ
     ปลอดภัยแก่ผู้ขับขี่
๒. สร้างทางเชื่อม ตรอก ซอย ปรับปรุงถนน เส้นทางลัดเพื่อลดความแออัด
๓. เพิ่มจำนวนอาสาจราจรและเทศกิจอาสาจราจรเพื่ออำนวนความสะดวกและประสานงานการจราจร
๔. รณรงค์และเสริมสร้างวินัยจราจร ส่งเสริมให้ประชาชนปฏิบัติตามกฎหมาย อบรม เผยแพร่ความรู้ทางการจราจร
     ให้แก่ประชาชน
ด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน
๑. จัดการคุณภาพน้ำเสียในคูคลอง พร้อมทั้งฟื้นฟูสภาพแม่น้ำลำคลองให้สวยสะอาด
๒. แก้ไขปัญหาจุดอ่อนน้ำท่วมจากฝนตกในพื้นที่
๓. ควบคุมและลดมลพิษจากยานพาหนะ โดยการเข้มงวดการตรวจจับรถก่อมลพิษ
๔. เพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่างทั่วถึงในทุกพื้นที่โโยเปลี่ยนที่วางเปล่าเป็นพื้นที่สีเขียว
๕. จัดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริม ตลอดจนกำหนดมาตรการจูงใจให้ประชาชนร่วมเพิ่มพื้นที่สีเขียว
๖. กำหนดมาตรการและกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชน เอกชนและหน่วยงานราชการร่วมกันอนุรักษ์พลังงาน
๗. บริการเก็บขยะมูลฝอยสม่ำเสมอและจัดให้มีการกวาดล้าง ทำความสะอาดดูดฝุ่นทางเท้า ถนน สะพานต่างๆ
๘. ส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ตลอดจนการนำกลับมาใช้ใหม่ฯ
๙. กำจัดสิ่งปฏิกูลอย่างทั่วถึงและถูกวิธี
ด้านความปลอดภัยและสาธารณภัย
๑. การจัดให้มีการดูแล ตรวจตรา เฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงภัยและกลุ่มเสี่ยงภัย อาชญากรรมโดยเจ้าหน้าที่เทศกิจ
๒. ลดพื้นที่เสียงโดยจัดให้มีการสำรวจพื้นที่ติดตั้งไฟฟ้าให้ความสว่างในพื้นที่เสียง ตรอก ซอยต่างๆ
๓. เพิ่มขีดความสามารถในการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำได้อย่างรวดเร็ว
๔. เข็มงวดการขออนุญาตก่อสร้างและต่อเติมอาคาร ควบคุมการก่อสร้างอาคาร การใช้อาคาร รวมทั้งเร่งรัด
     การตรวจสอบ
๕. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยฯ
๖. เตรียมความพร้อมในการเผชิญเหตุฉุกเฉินในชุมชนโดยให้ความรู้แก่ประชาชนฯ
ด้านการศึกษา
๑. จัดบริการทางการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาอย่างเพียงพอและสอดคล้องต่อความต้องการของชุมชน
๒. พัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้เพื่อเพิ่มแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
๓. เปิดโอกาสให้เอกชนร่วมจัดการและสนับสนุนการศึกษา
 
ด้านคุณภาพชีวิต
๑. จัดกิจกรรมกีฬานันทนาการ แหล่งเรียนรู้และกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองให้กับประชาชนทุกกลุ่ม
    เป้าหมายเพื่อเสริมสร้างทางเลือกใหม่ของการใช้ชีวิตวันหยุด
๒. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมีภูมิคุ้มกันต่อโรคติดต่อและมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค
๓. ส่งเสริมและพัฒนาความเข็มแข็งของสถาบันครอบครัวโดนเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดี
๔. ส่งเสริมและป้องกันปัญหายาเสพติดและอบายมุขอื่นๆพร้อมจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมและความเอื้อ
     อาทรในสังคม
๕. ส่งเสริมให้ประชาชนปลอดภัยจากโรคติดต่อและเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเกิดจากสุนัขจรจัดและสัตว์เลี้ยง
๖. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการดูแลสุขลักษณะของอาคาร สถานประกอบการให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ
๗. สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มหรือชุมชนผู้บริโภคของประชาชน ตลอดจนดำเนินการฝึกอบรม สัมมนาและเผยแพร่
     ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ผู้บริโภคตระหนักถึงสิทธิผู้บริโภค
๘. ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยโดยการตรวจอาหารที่วางขายไม่ให้ปนเปื้อนสารพิษ
     ควบคุมดูแลตลาดสดให้สะอาดได้มาตรฐาน
๙. จัดสวัสดิการสังคมและการสงเคราะห์ที่จำเป็นแก่ผู้ด้อยโอกาสอย่างทั่วถึง
๑๐. ส่งเสริมสนับสนุน กลไกเฝ้าระวังภาวะเสียงของผู้ด้อยโอกาส
๑๑. เสริมสร้างจิตสำนึกและการตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและ
      ประวัติศาสตร์
ด้านเศรษฐกิจ
๑. ส่งเสริมการสร้างอาชีพและการจ้างงานให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
๒. ส่งเสริมและให้ความรู้ในการใช้จ่ายเงินอย่างถูกต้องแก่ประชาชน
๓. เพิ่มทักษะการบริหารเงินของประชาชนตามแนวพระราชดำริ”เศรษฐกิจพอเพียง”
๔. พัฒนาชุมชนให้มีความสามารถในการบริหารเงินกองทุนที่ได้รับจากเขตฯ
๕.ส่งเสริมกิจกรรมขนาดย่อม โดยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ในชุมชน จัดหาตลาดรองรับสินค้าในชุมชน
ด้านผังเมือง
๑.  ควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมือง
๒. ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์และสร้างทางเดินริมแม่น้ำลำคลองเพื่อให้ประชาชนใช้ท่องเที่ยวและสัญจร
๓. ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของถนน เกาะกลางถนนและทางเท้าให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม
ด้านการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
๑. พัฒนากลุ่มและเครือข่าย เพื่อสนับสนุนการสร้างสรรคืงานพัฒนาคุณภาพชีวิตและการแก้ปัญหาความต้องการ
    ของพื้นที่
๒. พัฒนาผู้นำชุมชนให้สามารถทำแผนพัฒนาชุมชนได้
๓. ประชาสัมพันธ์และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นผ่านช่องทางต่างๆพร้อมพัฒนาระบบการประสานงานเพื่อ
     พัฒนาชุมชน
๔. พัฒนาระบบงานเพื่อลดขั้นตอนและรอบเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ
๕. นำมาตรการราชการใสสะอาดมาใช้อย่างมมีประสิทธิภาพ
๖. เร่งรัดการใช้จ่ายให้กระจายสู่พื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและเป็นไปตามแผน
๗. ลดค่าใช้จ่ายในส่วนที่เป็นไปได้
๘. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของเขตให้ครอบคลุม
๙. พัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน รวมทั้งรับปัญหาและติดตามแก้ไขปัญหาร้องเรียนเพื่อสร้าง
     ความประทับใจให้แก่ประชาชน
๑๐. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านความรู้ ความสามารถและทัศนคติอย่างเป็นระบบทั่งถึงและต่อเนื่อง
ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
 
 
  1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis)
จุดแข็ง  
ด้านจราจร
๑.มีความพร้อมของป้ายจราจร   อุปกรณ์ความปลอดภัย
   จราจร  เช่นป้ายจราจร
๒. มีความพร้อมด้านโครงข่ายการจราจร เช่น
    ถนนสายหลัก ถนนสายรองและเส้นทางลัด
๓.การจราจรมีความคล่องตัว
 
ด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน
๑. คุณภาพน้ำในคูคลองมีค่าของออกซิเจนละลายในน้ำ
    (DO) สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (๒.๕ มก./ลิตร)
๒.การจัดการด้านขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลสามารถจัดเก็บได้ไม่มีปัญหาขยะตกค้าง
 ๓.คุณภาพอากาศและเสียงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
๔.จำนวนพื้นที่สีเขียวในพื้นที่ต่อประชากรได้มาตราฐาน
 (๓.๑๘ ตรม/คน)มีสวนสาธารณะและสวนหย่อม ๒๒๔ ไร่
๔. ชุมชนและสถานศึกษาในพื้นที่ให้ความร่วมมือใน
    โครงการคัดแยกขยะและโครงการทำน้ำขยะหอม   
    (ปริมาณขยะรีไซเคิล ๒ ตัน/วัน)
ด้านความปลอดภัยและสาธารณภัย
๑. พื้นที่เสี่ยงภัยจำนวน ๒๕ จุดได้รับการตรวจทุกจุด
    ตามเป้าหมาย
๒.อาคารเสี่ยงภัยจำนวน ๘๑ แห่งได้รับการตรวจตาม
    แผน
๓. ผู้ประสบภัยได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
ด้านการศึกษา
๑. สถานศึกษาในระบบเพียงพอต่อความต้องการของ  
    ประชาชนในพื้นที่มีโรงเรียนในสังกัด ๑๓ แห่ง
    ศูนย์เด็กเล็ก ๑๕ แห่ง
๒.เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์
    อัตราส่วน ๒๕ ต่อ ๑
๓.มีการจัดแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
ด้านคุณภาพชีวิต
๑. มีการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเช่นการ

     จัดกิจกรรมนันทนาการในลานกีฬาจำนวน ๔๓ แห่ง

๒. มีการป้องกันและประสานงานเพื่อป้องกันการระบาด
      ของโรคติดต่อต่างๆเช่นไข้เลือดออก  อุจจาระร่วง
๓. มีการจัดการด้านสุขลักษณะด้านต่างๆที่มีผลกระทบ
     ต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน   เช่นการตรวจร้าน
     อาหาร ตลาดสด หาบเร่แผงลอย
๔. มีการจัดกิจกรรมเพื่อลดปัญหาความรุนแรงใน
     ครอบครัว
๕. มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนมีจิต
   สำนึกถึงคุณค่าและให้ความสำคัญของขนบธรรมเนียม      
   ประเพณีเช่นการจัดงานประเพณีวันสำคัญต่างๆ
ด้านเศรษฐกิจ
๑. ศักยภาพด้านเศรษฐกิจของประชาชนมีจำนวนผู้เข้า
    ฝึกอบรมสูงกว่าเป้าหมาย
๒. มีแหล่งอุตสาหกรรมด้านเกษตรเช่นไร่หญ้าและสินค้า
     OTOP
๓. ชุมชนมีความสามารถในการบริหารเงินกองทุน
     โดยมีกองทุนจำนวน ๓๙ กองทุน
 
จุดแข็ง(ต่อ)  
ด้านการวางผังเมืองและการพัฒนาเมือง
๑. มีสภาพภูมิทัศน์ของถนนสายหลักและถนนสายรอง
    เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยการปลูกต้นไม้บริเวณเกาะ
    กลางและริมทางเท้าให้สวยงาม

ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาพื้นที่

๑. ชุมชนมีการจัดประชุมและจัดกิจกรรมให้ประชาชน
   ใน ชุมชนมีส่วนร่วมเดือนละ๑ ครั้งและเขตจัดประชุม
    กรรมการชุมชนและจัดหน่วยบริการเข้าชุมชนรับฟัง
    ความคิดเห็นจากประชาชนเดือนละ ๑ ครั้ง
๒. มีชุมชน ๕๖ ชุมชนซึ่งแต่ละชุมชนมีกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อพัฒนาชุมชน
ด้านการบริหารจัดการภายใน
 ๑. สำนักงานเขตมีคุณภาพในการให้บริการ โดย
      การสำรวจความพึงพอใจของเขตอยู่ในลำดับที่  ๑๕
๒. เขตมีช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบ
      ถึงกิจกรรมและบริการของสำนักงานเขต  ๘  ช่องทาง
 ๓. ปัญหาการร้องเรียนได้รับการแก้ไขตามกำหนด
๔. มีการจัดเก็บรายได้ตามประมาณการ
๕. สามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ตามแผน
๖. มีการดำเนินการราชการใสสะอาด
๗. เขตสามารถลดขั้นตอนการปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์
๘. บุคลากรได้รับการพัฒนาในด้านความรู้ความสามารถ
     โดยเข้ารับการอบรมอย่างน้อย 1 หลักสูตร
จุดอ่อน  
ด้านจราจร
๑. ระบบขนส่งมวลชนยังไม่ทั่วถึง
๒. มีการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากเป็นเส้นทางผ่านของ
     รถบรรทุกนอกพื้นที่
ด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน
๑.  มีจุดอ่อนน้ำท่วม  ๒  จุด มีปัญหาน้ำท่วมขังเมื่อมีฝนตกหนักต่อเนื่องเนื่องจากพื้นที่รับน้ำเปลี่ยนไปและเกิดปัญหา    เมื่อปิดประตูระบายน้ำของกรมชลประทาน
ด้านความปลอดภัยและสาธารณภัย
๑. การเตรียมความพร้อมเพื่อเผชิญเหตุสาธารณภัยของ
ประชาชน ชุมชน สถานประกอบการต่างๆ  มีผู้เข้าอบรมจำนวนน้อยและความพร้อมเผชิญเหตุไม่ทันท่วง
ด้านการศึกษา
๑. การมีส่วนร่วมของประชาชนและเอกชนในการ
    พัฒนาการศึกษามีน้อย
ด้านคุณภาพชีวิต
๑. จำนวนสุนัขจรจัดที่ได้รับการควบคุมยังไม่ทั่วถึง
๒. การช่วยเหลือให้ผู้ด้อยโอกาสได้รับสวัสดิการและการสงเคราะห์ต้องประสานกับหน่วยงานอื่น
๓.กลุ่มผู้บริโภคยังไม่ตระหนักถึงสิทธิผู้บริโภค 
ด้านเศรษฐกิจ
- ไม่มี -. 
ด้านการวางผังเมืองและการพัฒนาเมือง
๑. มีอาคารที่ไม่ปฏิบัติตามผังเมืองบางส่วน
๒. การปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองยังไม่เป็นไปตาม
     เป้าหมาย
 
 
 
 
 
 
 

ด้านการมีส่วนร่วม

๑.การจัดเวทีชาวบ้านประชาชนยังไม่ให้ความร่วมมือ
   เท่าที่ควรเนื่องจากมีภารกิจในการประกอบอาชีพ
 
ด้านการบริหารจัดการภายใน
๑. ค่าใช้จ่ายประจำลดลงได้ต่ำกว่าเป้าหมาย เนื่องจากมี
    กิจกรรมที่ต้องเข้าร่วม ต้องใช้รถยนต์รับส่งทำให้สิ้น
    เปลืองน้ำมัน
๒. สถานที่ตั้งสะดวกในการติดต่อทำให้ประชาชนมาติด
     ต่อจำนวนมากจำนวนผู้มาใช้บริการจุด ONE STOP
     จำนวน  ๓๐,๔๖๑  คน ซึ่งเขตมีนบุรีเป็น  ๑ ใน  ๑๐ เขต
     ที่มีผู้มารับบริการมากที่สุด (สถิติจากกรมการปกครอง
     ละทะเบียน )แต่บุคลากรมีเท่าเดิมทำให้ประชาชนต้อง
     รอนาน
๓.บุคลากรขาดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานเนื่องจาก
    ภารกิจบางอย่างต้องออกค่าใช้จ่ายเอง
๔.อุปกรณ์บางอย่างไม่เพียงพอหรือมีแต่สภาพเก่า
๕.ศักยภาพของเครื่องมือมีสภาพเก่าและชำรุดโดยเฉพาะ
    เครื่องถ่ายเอกสารมีสถิติการซ่อม ๑๒ ครั้งต่อปี,เครื่อง
    ดิจิตอล ๓ ครั้งต่อปี
๖.ระบบฐานข้อมูลยังไม่มีความทันสมัยและระบบการ
   รายงานผลการปฏิบัติงานยังมีความซับซ้อน
 
 โอกาส
ด้านผลกระทบจากนโยบายรัฐบาล กฎหมาย การเมือง
๑. นโยบายอนุรักษ์พลังงานและมาตรการประหยัดน้ำมัน
     ทำให้ประชาชนตื่นตัวในการประหยัดพลังงาน
๒. นโยบายขจัดปัญหาความยากจน มีประชาชนสนใจ
     เข้าฝึกอาชีพจำนวนมาก
๓.นโยบาย ๓๐ บาท.สามารถส่งเสริมคุณภาพชีวิตได้ 
ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม ประชากรศาสตร์
- ไม่มี -
ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจเชิงมหภาค
- ไม่มี - 
ด้านการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีภายนอกที่เกี่ยวข้อง
๑. มีโอกาสทำงานอย่างโปร่งใสเนื่องจากใช้ระบบ
     เทคโนโลยีมาดำเนินการ
อุปสรรค  
ด้านผลกระทบจากนโยบายรัฐบาล กฎหมาย การเมือง
๑. มีการจัดกิจกรรมที่ต้องเกณฑ์คนเข้าร่วมจำนวนมาก
     ไม่สามารถประหยัดน้ำมันได้
 
๒. นโยบายขจัดปัญหาความยากจน เขตไม่มีอำนาจเข้า
      ไปแก้ไขปัญหาได้เบ็ดเสร็จ มีหน้าที่ประสานหน่วย
      งานที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
๓. ผู้บริหารมองว่าไม่สามารถปฏิบัติตามนโยบายได้
ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม ประชากรศาสตร์
     ๑. มีประชากรแฝงเข้ามาอาศัยในพื้นที่ทำให้ไม่ได้
    รับความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และงบประมาณ
     ไม่เพียงพอในการพัฒนาเขต
ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจเชิงมหภาค
  ๑. ราคาน้ำมันสูงขึ้นทำให้งบประมาณไม่เพียงพอใน
       การพัฒนาพื้นที่ 
ด้านการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีภายนอกที่เกี่ยวข้อง

    - ไม่มี 


๕.๒ กลยุทธ์เพิ่มเติมตามนโยบายรัฐบาล /เงินอุดหนุนของรัฐ
ด้านคุณภาพชีวิต
๑. ส่งเสริมให้เด็กเยาวชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค
 
 
ด้านผังเมือง
๑. ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ในพื้นที่เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม
 
  1. รายละเอียดกลยุทธ์
.๑ กลยุทธ์ตามยุทธศาสตร์ในแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร และกลยุทธ์เพิ่มเติมตามภารกิจเฉพาะ/สภาพพื้นที่
กลยุทธ์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม
ปี ๔๘ ปี ๔๙ ปี ๕๐ ปี ๕๑
.   ด้านจราจร
๑.๒ สร้างทางเชื่อม ตรอก ซอย ปรับปรุงเส้นทางลัด เพื่อลดความแออัด ประชาชนเดินทางได้สะดวกรวดเร็ว ๑.  ความก้าวหน้าของโครงการ จำนวนถนน ตรอก ซอย ที่ได้รับการปรับปรุงเป็นเส้นทางลัดหรือได้รับการปรับปรุง ติดตั้งป้ายบอกเส้นทางลัดหรือเครื่องหม