โรคเบาหวาน

วันพฤหัสบดีที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2558

โรคเบาหวาน
 

 

เบาหวาน เกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ อันส่งผลทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงเกิน โรคเบาหวานจะมีอาการเกิดขึ้นเนื่องมาจากการที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้อย่างเหมาะสม ซึ่งโดยปกติน้ำตาลจะเข้าสู่เซลล์ร่างกายเพื่อใช้เป็นพลังงานภายใต้การควบคุมของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งผู้ที่เป็นโรคเบาหวานร่างกายจะไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึ้นทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ในระยะยาวจะมีผลในการทำลายหลอดเลือด ถ้าหากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม อาจนำไปสู่สภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้

อาการของโรคเบาหวาน 
 ระดับน้ําตาลคนปกติจะอยู่นช่วง 70-99 มก./ดล. กอนรับประทาทนอาหารเชา ผูปวย
เบาหวานที่มีน้ําตาลสูงจากคาปกติไมมากอาจไมมีอาการชัดเจน จะตองทําการตรวจเลือดเพื่อการ
วินิจฉัย ถาไม่ทราบว่าเปนเบาหวานมาเป็นเวลานานผู้ปวยอาจมาตรวจพบด้วยภาวะแทรกซ้อนของ
โรคเบาหวานได้
 ผูปวยที่มีน้ําตาลสูงกวาคาปกติมากอาจมีอาการจากน้ำตาลในเลือดสูงหรือจากภาวะแทรกซอนไดแก่
• ปสสาวะบอยและมาก ปสสาวะชวงกลางคืน เกิดจากการที่น้ําตาลรั่วมากับปสสาวะและดึงน้ําออกมาดวย 
• คอแหง ดื่มน้ำมาก กระหายน้ำ เกิดจากการที่รางกายสูญเสียน้ำมากทางปสสาวะ 
• หิวบอยทานจุ แตน้ำหนักลดและออนเพลีย เกิดจากการที่รางกายใช้กลูโคสเปนอาหารไมไดตองใชโปรตีนและไขมันเป็นพลังงานแทน 
• แผลหายยาก มีการติดเชื้อทางผิวหนัง เกิดแผลไดบอย น้ำตาลที่สูงทําใหการทํางานของเม็ดเลือดขาวลดลง

• คันตามผิวหนังติดเชื้อรางาย โดยเฉพาะอยางยิงบริเวณช่องคลอดของผู้ปวยหญิง 
• ตาพรามัว อาจเกิดจากน้ำตาลคั่งในเลนซตา โรคจอประสาทตาจากเบาหวนหรือตอกระจก 

การรักษาโรคเบาหวาน 
 โรคเบาหวานเปนโรคเรื้อรังไมหายขาดจะตองควบคุมโรคไปตลอดชีวิตและอาศัยความรวมมือของผูปวยและญาติ ในการดูแลตนเองตามคําแนะนําอยางสม่ำเสมอ การรักษาไดแก่

• การควบคุมอาหาร 
• การออกกําลังกาย 
• การรักษาดวยยาเม็ดลดระดับน้ำตาล และ/หรืออินซูลิน 
• การไดรับสุขศึกษาในการดูแลตนเอง เพื่อใหผูปวยมีความรูและสามารถปฏิบัติตนในการควบคุมโรคเบาหวานไดถูกต้อง

โรคแทรกซอนของเบาหวาน 
 เปนผลจากกาควบคมเบาหวานไดไมดีอาจมีปจจัยอื่นร่วมไดแกความดันโลหิตสูง ไขมันสูง การสูบบุหรี่ 
ภาวะแทรกซอนในระยะสั้น เปนภาวะแทรกซอนแบบเฉียบพลัน  ได้แก่การเกิดเลือดเปนกรดจากคีโตน ภาวะหมดสติจากน้ําตาลในเลือดสูง น้ำตาลในเลือดสูงจากการติดเชื้อ การเกิดน้ำตาลต่ำจากยา
ที่ใชรักษา 
ภาวะแทรกซอนในระยะยาว การควบคุมเบาหวานไมดีในระยะยาวทําใหเกิดภาวะแทรกซอนเรื้อรัง
ในระยะยาวไดแก โรคจอประสาทตาจากเบาหวาน โรคไตวาย โรคประสาทสวนปลาย โรคหลอด
เลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสวนปลาย นําไปสู่ความสูญเสียชีวิตและพิการ สูญเสียคาใชจายในการรักษา